การสร้างบาร์โค้ดสินค้า

การสร้างบาร์โค้ดสินค้า บาร์โค้ดสินค้าในระบบชิปนิตี้จะใช้ในกรณีที่ สแกนบาร์โค้ดสินค้าสำหรับ - ขายหน้าร้าน - ขั้นตอนแพ็คสินค้า - ค้นหาสินค้า โดยสามารถสร้างได้ 2 วิธี คือ 1. สร้างบาร์โค้ดสินค้าโดยระบบสร้างให้ 2. สร้างบาร์โค้ดจากรหัสบาร์โค้ดเดิมที่มีอยู่แล้ว สร้างบาร์โค้ดสินค้าโดยระบบสร้างให้ สามารถทำได้ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. กด "ตัวเลือกจัดการสินค้า" เลือก “จัดการบาร์โค้ด” ได้เลย 3. เลือกประเภทของบาร์โค้ดที่ต้องการ โดยประเภทของบาร์โค้ดที่ใช้ได้ จะมี…

Continue Readingการสร้างบาร์โค้ดสินค้า

การจัดหมวดหมู่สินค้า

การสร้างหมวดหมู่สินค้า การสร้างหมวดหมู่สินค้าเพื่อให้สามารถจำแนกสินค้าแต่ละประเภทได้ หรือเพื่อการดูรายงานสินค้าตามหมวดหมู่ได้ง่ายขึ้น  วิธีการสร้างหมวดหมู่สินค้า สามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. กดที่ "ตัวเลือกจัดการสินค้า" แล้วเลือก “จัดการหมวดหมู่” 3. กดที่ “+เพิ่มหมวดหมู่” 4. ใส่ข้อมูล ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการสร้าง และ Threshold (จำนวนขั้นต่ำของสินค้าที่ต้องการให้แจ้งเตือนเมื่อใกล้หมด) แล้วกด “ยืนยัน” 5. สามารถแก้ไข ชื่อหมวดหมู่ และ Threshold ได้โดยการคลิกที่รูปดินสอได้เลย…

Continue Readingการจัดหมวดหมู่สินค้า

วิธีการตั้งค่าราคาต่อจำนวน

วิธีการตั้งค่าราคาต่อจำนวนการตั้งค่าราคาต่อจำนวน คือ การตั้งค่าราคาขายส่ง หรือเป็นการลดราคาให้กับลูกค้า เช่น เสื้อ 1 ตัว ขายราคาตัวละ 299 บาท หากซื้อเสื้อ 3 ตัว จะลดเหลือตัวละ 280 บาท เป็นต้นวิธีการตั้งค่าราคาต่อจำนวน สามารถทำได้ ดังนี้1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการตั้งราคาค่าส่ง และกดที่ “แว่นขยาย” 3. กดปุ่ม “แก้ไขสินค้า” ด้านบนซ้ายมือเพื่อตั้งค่าราคาต่อจำนวน 4.…

Continue Readingวิธีการตั้งค่าราคาต่อจำนวน

การบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า

การบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า การบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า เป็นการที่จะช่วยบันทึกว่าสินค้านั้นๆ เรามีการเก็บหรือตั้งไว้ที่ตรงไหนเพื่อให้ง่ายต่อการหยิบสินค้า เช่น ชั้นวางล็อค A ชั้น 3 โดยข้อมูลที่ตั้งสินค้าจะแสดงบนใบเตรียมสินค้าในขั้นตอนการแพ็กสินค้า โดยจะมีวิธีการบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการบันทึกที่ตั้งสินค้าและกดที่ “แว่นขยาย” เพื่อเข้าไปในหน้าสินค้า 3. กดปุ่ม “แก้ไขสินค้า” เพื่อเข้าไปใส่ข้อมูลที่ตั้งสินค้า 4. กดที่ "รายละเอียดเพิ่มเติม" 5. ใส่ข้อมูล “ที่ตั้งของสินค้า” แล้วกด Enter…

Continue Readingการบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า

สินค้า Shopee และ Lazada

ในหน้าสินค้าจะสามารถแยกดูรายการสินค้าจาก Shopee และ Lazada ได้ โดยทำได้ ดังนี้1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. เลือก “สินค้า Shopee” จะสามารถดูรายการสินค้าที่ขายทาง Shopee และสามารถทำการ Boost สินค้า Shopee ได้  - สามารถ Filter ข้อมูลสินค้า และเรียงข้อมูลสินค้าได้   - สามารถดูว่าสินค้ามีการเชื่อมต่อกับ Shopee อยู่หรือไม่ โดยดูที่โลโก้ Shopee ด้านล่างรูปสินค้า …

Continue Readingสินค้า Shopee และ Lazada

การสร้างแบรนด์สินค้า

การสร้างแบรนด์สินค้า เพื่อเป็นการแยกสินค้าแต่ละชิ้น แต่ละแบรนด์ สามารถทำได้ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. กด "ตัวเลือกจัดการสินค้า" แล้วเลือก “จัดการแบรนด์” 3. กดที่ “+เพิ่มแบรนด์”  4. ให้เพิ่มแบรนด์สินค้าลงในช่องชื่อแบรนด์ เมื่อเพิ่มเสร็จแล้ว กด "ยืนยัน" ได้เลย 5. เมื่อบันทึกเรียบร้อย แบรนด์ที่สร้างไว้จะแสดงดังภาพ สามารถเลือกเพิ่มสินค้าลงในแบรนด์ได้ว่าต้องการให้สินค้าแต่ละตัวอยู่ในแบรนด์ใด และจำนวนสินค้าที่มีอยู่ในแบรนด์จะแสดงอยู่ในช่อง "จำนวนสินค้า" การเพิ่มสินค้าลงในแบรนด์ มี 3 กรณี…

Continue Readingการสร้างแบรนด์สินค้า

การสร้างหน่วยสินค้า

การสร้างหน่วยสินค้า       หน่วยสินค้า จะใช้ในกรณีที่มีการขายเป็นต่อหน่วย เช่น ปกติเราขายน้ำ 1 ขวด ที่ราคาขวดละ 30 บาท แต่ต้องการขายที่ โหลละ 360 บาท เราสามารถตั้งค่าได้ ดังนี้ วิธีการสร้างหน่วย 1. ไปที่หน้าตั้งค่า 2.  เลือก “ตั้งค่าร้านค้า” จากนั้นให้เลือก “สินค้า” 3. กดที่แถบคำสั่ง “หน่วยสินค้า” 4.…

Continue Readingการสร้างหน่วยสินค้า

การปรับลดสต็อกและแก้ไขต้นทุนสินค้า

การปรับลดสต็อก ในกรณีที่ต้องการลดจำนวนสต็อกสินค้าสามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการปรับลดสต็อก และกดที่ “แว่นขยาย” เพื่อเข้าไปในหน้าสินค้า 3. ด้านขวามือ จะมีปุ่ม “ปรับสต็อก” สามารถกดที่ปุ่มปรับสต็อก เพื่อลดจำนวนสต็อกได้เลย 4. ใส่จำนวนสต็อกที่น้อยกว่าสต็อกที่มีอยู่ แต่ต้องไม่น้อยกว่า 0 เสร็จแล้วกด “ยืนยัน” 5. สต็อกสินค้าของล็อตที่ทำการแก้ไขจำนวนสินค้าจะลดลงอัตโนมัติ หากต้องการแก้ไขต้นทุนสินค้าสามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการแก้ไขต้นทุนสินค้า…

Continue Readingการปรับลดสต็อกและแก้ไขต้นทุนสินค้า

จัดเซ็ตสินค้า

    การจัดเซ็ตสินค้า จะใช้ในกรณีที่ทางร้านมีสินค้าในระบบแล้ว และต้องการนำสินค้ามาจัดกลุ่มเป็นเซ็ตเพื่อขายในราคาพิเศษ หรือจัดโปรโมชั่น โดยสินค้าเซ็ตนี้จะเชื่อมกับการสร้างออเดอร์ในระบบการสร้างออเดอร์ใน Inbox Facebook Page, Line OA และ DM ที่เชื่อมกับระบบชิปนิตี้เท่านั้น     หลักการของการจัดเซ็ตสินค้า คือการนำสินค้าที่มีอยู่มาประกอบกันเป็นเซ็ต โดยสต็อกของเซ็ตสินค้าที่แสดงระบบจะคำนวนให้จากสต็อกสินค้าของสินค้าประกอบในเซ็ตที่มีจำนวนน้อยที่สุดที่สามารถนำมาขายเป็นแบบเซ็ตได้มาแสดง เช่น มีเสื้อ 3 ตัว และมีการเกง 2 ตัว นำมาจับคู่เป็น SET A เซ็ตสินค้าที่ขายได้จะเท่ากับ 2…

Continue Readingจัดเซ็ตสินค้า

การสร้างสินค้า

สร้างสินค้า วิธีการสร้างสินค้า มีได้ 2 แบบ คือ 1. สร้างสินค้าทีละรายการ 2. สร้างสินค้าครั้งละหลายรายการด้วย Excel สามารถดูคู่มือได้ “คลิก” วิธีการสร้างสินค้าทีละรายการ กรณีเป็นสินค้าแบบเดียวไม่มีสินค้าย่อย เช่น สี ไซส์ ลาย สามารถทำได้ ดังนี้ 1. ไปที่หน้า "สินค้า" 2. กดปุ่ม “+เพิ่มสินค้า” 3. ข้อมูลที่จำเป็นต้องใส่ในหน้าเพิ่มสินค้า คือ…

Continue Readingการสร้างสินค้า