การจัดหมวดหมู่สินค้า

หมวดหมู่สินค้า    ระบบชิปนิตี้สามารถสร้างหมวดหมู่สินค้าเพื่อให้สามารถจำแนกสินค้าแต่ละประเภทได้ หรือเพื่อการดูรายงานสินค้าตามหมวดหมู่ได้ง่ายขึ้น  วิธีการสร้างหมวดหมู่สินค้า สามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. กดที่ "ตัวเลือกจัดการสินค้า" แล้วเลือก “จัดการหมวดหมู่” 3. กดที่ “+เพิ่มหมวดหมู่” 4. ใส่ข้อมูล ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการสร้าง และ Threshold (จำนวนขั้นต่ำของสินค้าที่ต้องการให้แจ้งเตือนเมื่อใกล้หมด) แล้วกด “ยืนยัน” 5. สามารถแก้ไข ชื่อหมวดหมู่ และ Threshold…

Continue Readingการจัดหมวดหมู่สินค้า

การเพิ่มสต็อกและย้ายสต็อกสินค้า

วิธีการเพิ่มสต็อกทีละรายการ สามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้า "สินค้า" 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการเพิ่มสต็อกแล้วกดปุ่มแว่นขยาย 3. เลื่อนลงมาที่ "ข้อมูลคลังสินค้า" แล้วกดปุ่ม "+เพิ่มสต็อก" 4. สามารถเลือกผู้ขาย หรือ Supplier ของสินค้าที่เรารับมาได้ 5. สามารถเลือกคลังที่ต้องการเพิ่มสต็อกได้ 6. สามารถใส่จำนวนสต็อกที่ต้องการเพิ่มในช่อง "จำนวน" แล้วใส่ต้นทุนสินค้าของล็อตนั้นได้ในช่อง "ต้นทุนต่อหน่วย" ซึ่งจะเป็นต้นทุนต่อหน่วยสินค้า 7. สามารถใส่ "วันที่จ่ายเงิน" ที่สั่งซื้อสินค้าล็อตนั้นได้และใส่…

Continue Readingการเพิ่มสต็อกและย้ายสต็อกสินค้า

การบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า

การบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า      การบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า เป็นการที่จะช่วยบันทึกว่าสินค้านั้นๆ เรามีการเก็บหรือตั้งไว้ที่ตรงไหนเพื่อให้ง่ายต่อการหยิบสินค้า เช่น ชั้นวางล็อค A ชั้น 3 โดยข้อมูลที่ตั้งสินค้าจะแสดงบนใบเตรียมสินค้าในขั้นตอนการแพ็กสินค้า โดยจะมีวิธีการบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการบันทึกที่ตั้งสินค้าและคลิกที่ “แว่นขยาย” เพื่อเข้าไปในหน้าสินค้า 3. คลิกปุ่ม “แก้ไขสินค้า” เพื่อเข้าไปใส่ข้อมูลที่ตั้งสินค้า 4. คลิกที่ "รายละเอียดเพิ่มเติม" 5. ใส่ข้อมูล “ที่ตั้งของสินค้า”…

Continue Readingการบันทึกตำแหน่งที่ตั้งสินค้า

การสร้างบาร์โค้ดสินค้า

การสร้างบาร์โค้ดสินค้า      บาร์โค้ดสินค้าในระบบชิปนิตี้จะใช้ในกรณีที่ สแกนบาร์โค้ดสินค้าสำหรับ          - ขายหน้าร้าน          - ขั้นตอนแพ็คสินค้า          - ค้นหาสินค้า      โดยสามารถสร้างได้ 2 วิธี คือ  …

Continue Readingการสร้างบาร์โค้ดสินค้า

การเพิ่มสินค้าในคลัง

     เมื่อทำการเพิ่มคลังสินค้าแล้ว จะต้องทำการเพิ่มสินค้าเข้าคลัง สามารถทำได้ดังนี้ 1. ไปที่หน้าตั้งค่า 2. เลือก “ตั้งค่าร้านค้า” 3. เลือกหมวดหมู่ “คลังสินค้า”  4. คลิก “สินค้าในคลัง”  สามารถเพิ่มสินค้าในคลังได้ 2 แบบ คือ  - คลิก "เพิ่มสินค้าในคลัง"   สามารถเลือกสินค้าบางชิ้นที่ต้องเข้าคลังได้ จากนั้นคลิก "ยืนยัน"  - คลิก "Import…

Continue Readingการเพิ่มสินค้าในคลัง

ลบสินค้า

การลบสินค้า      ทางร้านสามารถทำการลบสินค้าได้ 3 วิธี คือ          1. ลบสินค้าทีละรายการ  คลิก          2. ลบสินค้าหลายรายการ  คลิก          3. ลบสินค้าด้วย Excel  คลิก วิธีการลบสินค้าทีละรายการ…

Continue Readingลบสินค้า

การสร้างสินค้า

สร้างสินค้า วิธีการสร้างสินค้า มีได้ 2 แบบ คือ 1. สร้างสินค้าทีละรายการ 2. สร้างสินค้าครั้งละหลายรายการด้วย Excel สามารถดูคู่มือได้  คลิก วิธีการสร้างสินค้าทีละรายการ กรณีเป็นสินค้าแบบเดียวไม่มีสินค้าย่อย เช่น สี ไซส์ ลาย สามารถทำได้ ดังนี้ 1. ไปที่หน้า "สินค้า" 2. คลิกปุ่ม “+เพิ่มสินค้า” 3. ข้อมูลที่จำเป็นต้องใส่ในหน้าเพิ่มสินค้า คือ…

Continue Readingการสร้างสินค้า

จัดเซ็ตสินค้า

    การจัดเซ็ตสินค้า จะใช้ในกรณีที่ทางร้านมีสินค้าในระบบแล้ว และต้องการนำสินค้ามาจัดกลุ่มเป็นเซ็ตเพื่อขายในราคาพิเศษ หรือจัดโปรโมชั่น โดยสินค้าเซ็ตนี้จะเชื่อมกับการสร้างออเดอร์ในระบบการสร้างออเดอร์ใน Inbox Facebook Page, Line OA และ DM ที่เชื่อมกับระบบชิปนิตี้เท่านั้น    หลักการของการจัดเซ็ตสินค้า คือการนำสินค้าที่มีอยู่มาประกอบกันเป็นเซ็ต โดยสต็อกของเซ็ตสินค้าที่แสดงระบบจะคำนวนให้จากสต็อกสินค้าของสินค้าประกอบในเซ็ตที่มีจำนวนน้อยที่สุดที่สามารถนำมาขายเป็นแบบเซ็ตได้มาแสดง เช่น มีเสื้อ 3 ตัว และมีการเกง 2 ตัว นำมาจับคู่เป็น SET A เซ็ตสินค้าที่ขายได้จะเท่ากับ 2…

Continue Readingจัดเซ็ตสินค้า

การปรับลดสต็อกและแก้ไขต้นทุนสินค้า

     ในกรณีที่ต้องการลดจำนวนสต็อกสินค้า หรือต้องการแก้ไขต้นทุนสินค้าแต่ละล็อต สามารถทำได้ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการปรับลดสต็อก และคลิกที่ “แว่นขยาย” เพื่อเข้าไปในหน้าสินค้า 3. ด้านขวามือ จะมีปุ่ม “ปรับสต็อก” สามารถคลิกที่ปุ่มปรับสต็อก เพื่อลดจำนวนสต็อกได้เลย 4. ใส่จำนวนสต็อกที่น้อยกว่าสต็อกที่มีอยู่ แต่ต้องไม่น้อยกว่า 0 เสร็จแล้วคลิก “ยืนยัน” 5. สต็อกสินค้าของล็อตที่ทำการแก้ไขจำนวนสินค้าจะลดลงอัตโนมัติ หากต้องการแก้ไขต้นทุนสินค้าสามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า…

Continue Readingการปรับลดสต็อกและแก้ไขต้นทุนสินค้า

การสร้างแบรนด์สินค้า

     การสร้างแบรนด์สินค้า จะเป็นการแยกสินค้าแต่ละแบรนด์ เพื่อจัดการสินค้าหรือเปิดออเดอร์ตามสินค้าแต่ละแบรนด์ได้ง่ายขึ้น สามารถทำได้ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. กด "ตัวเลือกจัดการสินค้า" แล้วเลือก “จัดการแบรนด์” 3. กดที่ “+เพิ่มแบรนด์”  4. ให้เพิ่มแบรนด์สินค้าลงในช่องชื่อแบรนด์ เมื่อเพิ่มเสร็จแล้ว กด "ยืนยัน" ได้เลย 5. เมื่อบันทึกเรียบร้อย แบรนด์ที่สร้างไว้จะแสดงดังภาพ สามารถเลือกเพิ่มสินค้าลงในแบรนด์ได้ว่าต้องการให้สินค้าแต่ละตัวอยู่ในแบรนด์ใด และจำนวนสินค้าที่มีอยู่ในแบรนด์จะแสดงอยู่ในช่อง "จำนวนสินค้า" การเพิ่มสินค้าลงในแบรนด์ มี…

Continue Readingการสร้างแบรนด์สินค้า