การตั้งค่าค่าส่ง

     การตั้งค่าส่ง จะเป็นการตั้งค่าส่งที่ทางร้านเรียกเก็บจากลูกค้า เมื่อตั้งค่าส่งเรียบร้อยแล้วในขั้นตอนการสร้างออเดอร์จะคำนวณราคาค่าส่งให้อัตโนมัติ โดยจะสามารถตั้งค่าส่งได้ 3 รูปแบบ คือ คิดตามราคา, คิดตามจำนวน และคิดตามน้ำหนัก วิธีการตั้งค่าค่าส่ง 1. ไปที่หน้าตั้งค่า 2. เลือก "การขนส่ง" เลือกแถบคำสั่ง "วิธีคิดราคาค่าจัดส่ง" 3. คลิก "แก้ไขค่าส่ง" * หากมีการเลือกขนส่งไว้แล้ว จะขึ้นชื่อขนส่งให้ทำการแก้ไขค่าส่ง เลือกวิธีคิดค่าส่ง โดยจะมีวิธีคิดค่าส่ง 3 แบบ คือ…

Continue Readingการตั้งค่าค่าส่ง

รายงาน Cash Flow

รายงาน Cash Flow       คือ รายงานที่แสดงสรุปรายรับและรายจ่ายทั้งหมดในช่วงวันที่เลือก  สามารถดูรายงานดูรายงาน Cash Flow ได้ ดังนี้  1. ไปที่หน้า รายงาน 2. เลือก Cash Flow 3. รายงาน Cash flow มี 2 แบบ  คือ แบบทั้งหมด และ แบบเฉพาะหน้าร้าน ถ้าต้องการดู…

Continue Readingรายงาน Cash Flow

การตั้งค่าใบเสร็จ/ใบปะหน้าพัสดุ

การตั้งค่าใบเสร็จ/ใบปะพัสดุ      ร้านค้าสามารถปรับรูปแบบการแสดงผลในใบเสร็จ หรือใบปะกล่องของทางระบบได้ โดยสามารทำได้ดังนี้ 1. ไปที่หน้าตั้งค่า 2. เลือก "ใบเสร็จ ใบปะกล่อง" 3. คลิก "ตั้งค่า" ของเอกสารที่ต้องการตั้งค่า 4. สามารถตั้งค่าได้ว่าต้องการให้แสดงข้อมูลใดบ้างในใบเสร็จ      ตัวอย่าง ใบเสร็จรับเงินขนาด A4/A5      ตัวอย่าง รูปแบบใบปะกล่องขนาด A4/A5 สอบถามการใช้งานได้ที่ โทร…

Continue Readingการตั้งค่าใบเสร็จ/ใบปะหน้าพัสดุ

การดูประวัติใบกำกับภาษี และการตั้งค่าเรียงใบกำกับภาษี (New)

  ประว้ติใบกำกับภาษีในระบบ Shipnity ทำอะไรได้บ้าง?      ระบบ Shipnity สามารถสร้างออเดอร์พร้อมออกใบกำกับภาษีได้ ซึ่งในการออกใบกำกับภาษีระบบจะมีการเก็บประวัติการออกใบกำกับภาษีไว้ด้วย ซึ่งจะช่วยให้ร้านค้าสามารถดูรายงานการออกใบกำกับภาษีได้ง่ายขึ้นว่าออกใบกำกับภาษีให้กับออเดอร์ไหนบ้าง โดยสามารถเลือกดูการออกใบกำกับภาษีในช่วงเวลาที่ต้องการได้ และนอกจากนี้ยังช่วยให้สามารถนำข้อมูลการออกใบกำกับกำภาษีไปทำบัญชีได้สะดวกขึ้น  หากต้องการดูประวัติใบกำกับภาษีสามารถเข้าไปดูได้ ดังนี้ 1. ไปที่หน้าประวัติ 2. เลือกหัวข้อ “ออเดอร์"และเลือกแถบ "ใบกำกับภาษี" 3. สามารถเลือกคลัง และช่วงเวลาที่ต้องการดูประวัติใบกำกับภาษีได้  หากต้องการเรียงเลขใบกำกับภาษีใหม่ สามารถทำได้ ดังนี้ 1. ไปที่หน้าประวัติ 2. เลือก "จัดการใบกำกับภาษี"…

Continue Readingการดูประวัติใบกำกับภาษี และการตั้งค่าเรียงใบกำกับภาษี (New)

การใช้งานสำหรับตัวแทนจำหน่าย

วิธีการใช้งานสำหรับตัวแทนจำหน่าย      โดยจะให้ตัวแทนของร้านสร้างออเดอร์ด้วยตัวเอง ซึ่งมีรูปแบบการขายแบบ Dropship (ตัวแทนไม่ต้องสต็อคสินค้าเอง) ทำได้ดังนี้ 1. เมื่อ log in เข้าสู่ระบบด้วย email, password ที่ทางร้านสร้างให้แล้ว สามารถสร้างออเดอร์ได้โดยคลิก "+ สร้างออเดอร์" 2. ใส่ข้อมูลลูกค้า โดยระบบจะบันทึกข้อมูลของลูกค้าไว้ **ถ้ามีประวัติการซื้อของลูกค้าคนนั้นแล้วจะสามารถเลือกข้อมูลลูกค้าที่เคยบันทึกไว้ได้เลย 3. จากนั้นทำการเพิ่มสินค้า คลิก “เพิ่มสินค้า”       – …

Continue Readingการใช้งานสำหรับตัวแทนจำหน่าย

ปิดออเดอร์ Kerry Easy Ship

ส่วนของ Kerry Express  1. สมัครสมาชิกหน้าเว็ปของ Kerry จากนั้นเลือก "อีซี่ชิป" 2. หากเป็นสมาชิกอยู่แล้ว ให้ "เข้าสู่ระบบ" ได้เลย หากยังไม่เป็นสมาชิก ให้คลิก "สมัครใช้งานฟรี"  3.เมื่อสมัครแล้ว ให้คลิก "สร้างพัสดุ" 4. คลิก "อัพโหลดไฟล์" 5. จากนั้นคลิก "ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม" 6. เมื่อดาวน์โหลดมาแล้ว เราจะได้ไฟล์จาก Kerry ชื่อ…

Continue Readingปิดออเดอร์ Kerry Easy Ship

การพิมพ์ปก QR Code (New)

การพิมพ์ปก QR Code    QR Code จะเป็นการเก็บข้อมูลการพิมพ์ในแต่ละครั้ง โดยเมื่อสแกน QR Code จะแสดงรายการของออเดอร์ที่ถูกพิมพ์ ซึ่งสั่งพิมพ์ซ้ำได้ จะช่วยให้ร้านค้าสามารถตรวจสอบรายการออเดอร์ที่พิมพ์ไป และสามารถพิมพ์เอกสารในแต่ละรอบการพิมพ์ซ้ำได้ 1. ไปที่หน้าออเดอร์ เลือกสถานะออเดอร์ "พิมพ์ที่อยู่" จากนั้นคลิก "พิมพ์ทุกรายการ" หรือสามารถเลือกออเดอร์ที่ต้องการเอกสารได้ โดยติ๊กเลือกออเดอร์ที่ต้องการ จากนั้นคลิก "พิมพ์ทุกรายการที่เลือก" 2. เลือกเอกสารที่ต้องการพิมพ์ในกรณีนี้ จะยกตัวอย่างเป็นการเลือกพิมพ์ "ใบเสร็จรับเงิน (A4/A5)" 3.…

Continue Readingการพิมพ์ปก QR Code (New)

การจัดหมวดหมู่สินค้า

หมวดหมู่สินค้า    ระบบชิปนิตี้สามารถสร้างหมวดหมู่สินค้าเพื่อให้สามารถจำแนกสินค้าแต่ละประเภทได้ หรือเพื่อการดูรายงานสินค้าตามหมวดหมู่ได้ง่ายขึ้น  วิธีการสร้างหมวดหมู่สินค้า สามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้าสินค้า 2. กดที่ "ตัวเลือกจัดการสินค้า" แล้วเลือก “จัดการหมวดหมู่” 3. กดที่ “+เพิ่มหมวดหมู่” 4. ใส่ข้อมูล ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการสร้าง และ Threshold (จำนวนขั้นต่ำของสินค้าที่ต้องการให้แจ้งเตือนเมื่อใกล้หมด) แล้วกด “ยืนยัน” 5. สามารถแก้ไข ชื่อหมวดหมู่ และ Threshold…

Continue Readingการจัดหมวดหมู่สินค้า

การเพิ่มสต็อกและย้ายสต็อกสินค้า

วิธีการเพิ่มสต็อกทีละรายการ สามารถทำได้ ดังนี้ 1. เข้าไปที่หน้า "สินค้า" 2. เลือกรายการสินค้าที่ต้องการเพิ่มสต็อกแล้วกดปุ่มแว่นขยาย 3. เลื่อนลงมาที่ "ข้อมูลคลังสินค้า" แล้วกดปุ่ม "+เพิ่มสต็อก" 4. สามารถเลือกผู้ขาย หรือ Supplier ของสินค้าที่เรารับมาได้ 5. สามารถเลือกคลังที่ต้องการเพิ่มสต็อกได้ 6. สามารถใส่จำนวนสต็อกที่ต้องการเพิ่มในช่อง "จำนวน" แล้วใส่ต้นทุนสินค้าของล็อตนั้นได้ในช่อง "ต้นทุนต่อหน่วย" ซึ่งจะเป็นต้นทุนต่อหน่วยสินค้า 7. สามารถใส่ "วันที่จ่ายเงิน" ที่สั่งซื้อสินค้าล็อตนั้นได้และใส่…

Continue Readingการเพิ่มสต็อกและย้ายสต็อกสินค้า

การตั้งค่าไลฟ์

Keyword CF คืออะไร?    Keyword CF คือ รหัส หรือตัวอักษรที่ให้ลูกค้าในไลฟ์พิมพ์เพื่อให้ได้สินค้าตัวที่ต้องการ เมื่อลูกค้าพิมพ์รหัส หรือตัวอักษรที่ร้านกำหนดระบบจะดูด keyword มาสร้างเป็นรายการสินค้า เช่น เสื้อยืดสีดำ มี keyword คือ T01 เมื่อลูกค้าพิมพ์ T01 ใน comment ไลฟ์ ระบบก็จะดูด keyword นี้มาสร้างเป็นออเดอร์ในระบบ ขั้นตอนการตั้งค่าไลฟ์ มีดังนี้ ตั้งค่า…

Continue Readingการตั้งค่าไลฟ์